ปัญหา:

พิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำ บ่อปลา

  • บ่อเลี้ยงปลา กุ้ง สัตว์น้ำ มักประสบปัญหาน้ำมีสีเขียว ขุ่น มีตะไคร่น้ำจำนวนมาก ต้องทำการล้างบ่ออยู่เป็นประจำ
  • ปัญหาเรื่องเชื้อพยาธิ ปรสิต ในบ่อเลี้ยงปลา ทำให้ปลาเกิดโรคพยาธิ
ไม่รู้จะแก้ไขอย่างไร ?
พิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำ, AFM, สารกรอง AFM, สารกรองแก้ว AFM, แก้วกรองน้ำ, แก้วกรองน้ำ AFM, สารกรองแก้ว
สารกรองแก้ว

คุณสมบัติพิเศษ เมื่อนำ AFM® มาใช้แก้ปัญหา

  • AFM® สามารถกรองตะกอนขุ่นของน้ำ (Turbidity removal) ที่เกิดจากเศษอาหารที่ใช้เลี้ยงปลา ขี้ปลา เศษวัชพืชในน้ำ ให้เหลือน้อยกว่า 0.05 NTU ทำให้น้ำในบ่อเลี้ยงปลาใสตลอดเวลา และลด TSS (Total Suspended Solid) ได้มากกว่า 90%
  • AFM® สามารถกรองเชื้อแบคทีเรีย เชื้อพยาธิ ปรสิต ที่มีขนาดใหญ่กว่า 1 ไมครอน หรือ 0.001 มิลลิเมตรได้
  • AFM® สามารถดูดจับ สารเคมี ที่เป็นอันตราย เช่น Herbicides (ยากำจัดวัชพืช) ได้
  • AFM® สามารถดูดจับ (Adsorption) สารอินทรีย์ และ สารอนินทรีย์ฟอสเฟตได้
    • ฟอสเฟต ในรูปสารอินทรีย์ ที่พบในแพลงก์ตอน สาหร่าย และรูปแบบแบคทีเรีย
    • ฟอสเฟต ในรูปสารอนินทรีย์ หรือในรูปของแข็ง หรือ เรียกว่า ฟอสฟอรัส
    • ฟอสเฟตที่ละลายน้ำ เรียกว่า Ortho-phosphate
  • AFM® สามารถลดค่า DOC หรือ สารอินทรีย์คาร์บอนที่ละลายในน้ำ โดย การกำจัดสารอินทรีย์ที่อยู่ในน้ำ (A Negative Zeta potential of AFM adsorbs small particles and dissolved organic molecules from water)
    • เมื่อ ค่า DOC ลดลง ค่า TOC (ค่าสารอินทรีย์คาร์บอนรวม ที่อยู่ในน้ำ) ก็จะลดลงตาม
    • สารอินทรีย์คาร์บอนในน้ำ ก็คืออาหารของเชื้อแบคทีเรีย
    • เมื่อเชื้อแบคทีเรียมีจำนวนมาก ความต้องการใช้ออกซิเจนในน้ำเพิ่มขึ้น เนื่องจากแบคทีเรียนำไปใช้
    • เมื่อเกิดการขับถ่ายของแบคทีเรีย จะทำให้เกิดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จำนวนมากในน้ำ และ ที่สำคัญสารอินทรีย์คาร์บอนยังเป็นอาหารของเชื้อ Vibrio Sp. ที่เป็นสาเหตุของโรคกุ้งทั้งหลายด้วย
    • แบคทีเรียที่เป็นสารอินทรีย์ในน้ำต้องการออกซิเจน (Aerobic bacteria) ในการย่อยสลายสารอนินทรีย์ ความต้องการออกซิเจนของแบคทีเรียนี้จะทำให้จะทำให้ปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำลดลง
    • ไนโตรเจน เป็นธาตุอาหารสำคัญสำหรับพืช ซึ่งจะอยู่ในรูปของ แอมโมเนีย-ไนโตรเจน ไนไตรท ไนเตรท ยิ่งถ้าในน้ำมีปริมาณไนโตรเจนสูง จะทำให้พืชน้ำเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว
      • พืช สามารถสังเคราะห์สารอินทรีย์ที่มีไนโตรเจนได้
      • สัตว์เมื่อกินพืชก็จะขับถ่ายไนโตรเจนออกมาในรูปสารอินทรีย์ ฃ
      • จุลินทรีย์จะทำการเปลี่ยนให้เป็นไนโตรเจนในรูปสารอนินทรีย์ ได้แก่ แอมโมเนีย เราเรียกวัฎจักรนี้ว่า Ammonification แอมโมเนียอีกส่วนหนึ่งจะถูกออกซิไดซ์โดยแบคทีเรียพวก Nitrosomonas และ Nitrobacter ได้เป็น Nitrite และ Nitrate ตามลำดับ ภายใต้สภาพมีอากาศ
  • ขบวนการทำงาน ด้วยสารกรอง AFM® และ ACO®
    • AFM® ทำการกรอง สารอินทรีย์ และกรองแบคทีเรียทิ้ง
    • ACO® ทำการเปลี่ยนรูปของสารอินทรีย์ไนโตรเจน ให้เป็นก๊าซไนโตรเจน เพื่อให้ก๊าซระเหยไปในชั้นอากาศ

ผังการติดตั้งระบบกรองด้วย AFM® กับบ่อเลี้ยงปลา

พิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำ, AFM, สารกรอง AFM, สารกรองแก้ว AFM, แก้วกรองน้ำ, แก้วกรองน้ำ AFM, สารกรองแก้ว
Lisbon Aquarium AFM has been in the system for over 10 years
Mundomar, Benidorm, Spain Pinnipeds, Penguins and Dolphins
Cité de la Mer Cherbourg, France Aquarium Systems
Istanbul Aquarium, /Istanbul, Turkey 6,500m³ of aquariums Noumea Aquarium
Noumea, New Caledonia All incoming seawater filtration
Antwerp Zoo Aquarium, Antwerp Belgium Selected aquarium Systems
Burger’s Ocean, Arnhem, Holland Selected aquarium Systems
Bergen Aquarium, Bergen, Norway Selected aquarium Systems
The Deep, Hull, England 2,500m³ of aquariums
Tierpark, Hagenbeck, Germany All aquarium Systems
Colchester Zoo, Colchester, England Sea Lion Systems
Marwell Zoo, Marwell, England Penguins
Sea Museum, Klaipeda, Lithuania Dolphins
Palma Aquarium, Mallorca, Spain Aquariums
Rixos Hotel Aquariums, Antalya, Turkey All aquarium Systems
Loebecke Museum and Aquazoo, Dusseldorf, Germany All aquarium Systems
Dubai Mall Aquarium, Dubai, UAE All aquarium systems (10 million litres largest exhibit)
Sea Life Centre, Dubai, UAE All aquarium Systems
Burj Al Arab hotel aquarium, Dubai, UAE All aquarium Systems
Kuwait Scientific Centre Aquarium Systems
Poema del Mar Aquarium, Gran Canaria All aquarium Systems